วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ระเบียบปฏิบัติ


โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย


ระเบียบปฏิบัติที่  SP-EMR-01

เรื่อง

 

การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน




ผู้รับผิดชอบ


ทบทวนโดย

 

…………………………………………………….
หัวหน้างานอุบัติเหตุฉุกเฉิน

……………………………………………………
ผู้แทนฝ่ายบริหารคุณภาพ


……………………………..
วันที่

………………………….
วันที่



 


แก้ไขครั้งที่  08


วันที่บังคับใช้   19  ตุลาคม  2553





ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
19 ตุลาคม2553
หน้า                   
2
ของ
6

1.      วัตถุประสงค์
1.1  เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการให้บริการที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
2.      ขอบเขต
2.1เริ่มตั้งแต่ผู้รับบริการมาถึงตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน  สิ้นสุดเมื่อเสร็จสิ้นการให้บริการหรือส่งผู้รับบริการไปจุดบริการอื่น
3.      ความรับผิดชอบ
3.1       แพทย์
            ตรวจรักษาผู้ป่วยตามผังการปฏิบัติงานประจำเดือน
3.2     หัวหน้างานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
            ควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติ
3.3     เจ้าหน้าที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
            ให้บริการผู้รับบริการตามระเบียบปฏิบัติ
4.      คำจำกัดความ
4.1     ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก  (Emergent)  หมายถึงผู้ป่วยต้องได้รับการตรวจรักษาทันที  มิฉะนั้นผู้ป่วยจะต้องตายหรือพิการอย่างถาวรได้ภายในเวลาไม่กี่นาที  ได้แก่
-             ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือ  COMA  (คะแนน  Score  น้อยกว่า  7)
-             ผู้ป่วยมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ  จนกระทั่งเขียนหรือหายใจมีเสียงครืดคราด  หยุดหายใจ
-             ผู้ป่วยมีอัตราการหายใจ  £ 10  หรือ  ³  40  ครั้งต่อนาที  ในผู้ใหญ่หรือในเด็กที่หายใจมีหน้าอกบุ๋ม  ร่วมกับมีอัตราการหายใจ  £  40  ครั้งต่อนาที
-             ชีพจรเต้นผิดปกติเบา  ³  50  หรือ  >  150  ครั้งต่อนาที  คลำชีพจรไม่ได้
-             หัวใจหยุดเต้น  หรือหยุดหายใจทำ  CPR
-             ความดันซิสโตลิค  >  250  มิลลิเมตรปรอท
-             มีการบาดเจ็บบริเวณร่างกายที่รุนแรงหรือบาดเจ็บหลายแห่ง  และมีกระดูกหักหลายแห่งมีอาการเจ็บปวด  ชีพจรเบา  ชาซีด
-             มีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ  ชาแขน  ชาขา  หรือคลำดูมีเสียงกรอบแกรบของกระดูกต้นคอ
-             มีแผลเปิดแยกขนาดใหญ่  บริเวณหน้าอก  และท้อง  หน้าอกมี  Subcutaneous  Emphysema  หรือมีมีด  หรือมีวัตถุปักอยู่ที่ปากแผล
-             อัมพาต  ตาบอด  หูหนวก  ทันที
-             บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก  ระดับ  2  Burn  และ  3    Burn  >  20%  ในผู้ใหญ่  หรือ  >  10%  ในเด็ก
ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
19 ตุลาคม2553
หน้า                  
3
ของ
6

-             เลือดออกไม่สามารถห้ามเลือดได้  มีเลือดไหลตลอดเวลาร่วมกับภาวะซ๊อกจากการเสียเลือด
-             ซ๊อกด้วยสาเหตุต่าง    เหงื่อออกมาตัวเย็น  ซีด  หรือคลำชีพจรที่แขนไม่ได้ในเด็ก  (BPS  < 90  mmHg)
-             ชักตลอดเวลาหรือชักจนเขียว
-             การได้รับสารพิษได้รับยาเกินขนาด
-             น้ำตาลในเลือดสูง  >  600  mg%  หรือต่ำกว่า  60  mg %
-             ทำคลอดฉุกเฉินที่ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน  หรือคลอดบนรถ
·       ท่าผิดปกติ  เช่น  ท่าก้น  ท่าเท้า  สายสะดือพันคอ
·       ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
-             ปัญหาทางจิตใจรุนแรง  ได้แก่  การฆ่าตัวตาย  พยายามทำร้ายผู้อื่น  มีอาการทางจิต  เอะอะโวยวาย  ซึม  เศร้า  ไม่รับรู้สถานการณ์รอบตัว
-             สารเคมีเข้าตา
-             อุบัติเหตุมีบาดแผลขนาดใหญ่หายแห่ง
4.2     ผู้ป่วยฉุกเฉิน  (Urgent)  หมายถึง  ผู้ป่วยที่ต้องการช่วยเหลือรีบด่วน  ถ้าไม่ได้รับการรักษาภายใน  1 – 2  ชั่วโมง  ผู้ป่วยอาจตายหรือพิการได้  ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะรู้สึกตัวดี  ไม่มีอาการแสดงของภาวะ  Shock  ได้แก่
-             ผู้ป่วยที่มีกระดูกใหญ่หัก
-             Acute  Abdomen  ปวดท้องเฉียบพลันและมีอาการกดเจ็บ
-             ชีพจรเต้นผิดปกติ  แต่อยู่ในช่วง  50 – 150  ครั้งต่อนาที
-             มีไข้  ³  40  องศาเซลเซียส  ในผู้ใหญ่  ในเด็ก  <  1  ปี  ไข้  ³  39  องศาเซลเซียส  หรืออุณหภูมิต่ำกว่า  35  องศาเซลเซียส
-             ได้รับสารเคมีเป็นพิษหรือแมลงสัตว์กัดต่อย  ที่มีอาการปวดบวม  ผื่นแพ้ร่วมด้วย
-             มีสิ่งแปลกปลอมหรือมีปัญหาด้าย  หู  ตา  จมูก  เช่น  มีเลือดกำเดาไหล  มีแผลขนาดใหญ่  เลนส์ตาแตก  ต้อหินเฉียบพลัน
-             วิงเวียนศีรษะ  บ้านหมุน  ลืมตาไม่ได้
-             เมาสุรา  จนขาดสติสัมปชัญญะ
-             บาดแผลที่  Active  Bleed
-             บาดแผลฉีกขาดลึกตั้งแต่ชั้นกล้ามเนื้อลงไป
-             ปวดตามาก  ตาแดง  ตามมัว  บาดเจ็บในตา
-             ปัสสาวะไม่ออก
-             บาดเจ็บที่ศีรษะ  คะแนน   Score  ต่ำกว่า  14
ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
19 ตุลาคม2553
หน้า                  
4
ของ
6

-             มีอาการสับสนไม่รู้  เวลา  สถานที่
-             ผุ้ป่วยภูมิต้านทานต่ำและมีไข้สูงหนาวสั่น
-             หายใจช้ากว่า  10 หรือ  เร็วกว่า  30  ครั้ง  ต่อนาที
-             ชีพจรช้ากว่า  40  หรือ   เร็วกว่า  150  ครั้งต่อนาที
4.3     ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน  (Non – Urgent)  หมายถึง  ผุ้ป่วยที่ต้องการวินิจฉัยและการรักษาอย่างเหมาะสม  โดยที่ในขณะนั้นไม่มีภาวะฉุกเฉินที่จะคุกคามต่อชีวิต  ได้แก่
-             บาดเจ็บเล็กน้อยแผลถลอก
-             ปวดท้อง  ปวดหลังไม่รุนแรง
-             มีความวิตกกังวลเล็กน้อย
-             เจ็บคอ  ไอ  ไม่มีอาการเหนื่อยหอบร่วมด้วย
-             เสียชีวิตก่อนมาโรงพยาบาล  (DBA)  ไม่ได้ทำ CPR
4.4     ผู้ประสบภัยจากรถ  หมายถึง  ผู้ประสบอุบัติเหตุจากรถทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่  ผู้โดยสาร  ผู้ซึ่งอยู่ในหรือบนหรือส่วนใดของรถ  หรือขณะกำลังขึ้น-ลงจากรถและผู้ใช้ถนน  หรือแม้แต่คนที่กำลังนอนอยู่ในบ้าน  หากำได้รับความเสียหายอันเป็นอันตรายต่อชีวิต  ร่างกายและอนามัยอันเกิดจากรถ
4.5     เจ้าหน้าที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน  หมายถึง  พยาบาลและพนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
4.6     ผู้ป่วยคดี  หมายถึง  ผู้ป่วยดังต่อไปนี้
-             ผู้ป่วยที่มีบาดแผลทั้งหมด  ไม่ว่าจะเป็นบาดแผลชนิดใด  หรือมีประวัติว่าได้รับจากอุบัติเหตุทุกชนิด
-             ผู้ป่วยที่มีหนังสือส่งตัวจากพนักงานสอบสวนไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ  พนักงานอัยการหรือศาล
-             ผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับคดีทางเพศซึ่งมารับการตรวจรักษาเองเนื่องจากมีภาวะแทรกกซ้อนหรือต้องการหลักฐานการตรวจของแพทย์
-             ผู้ป่วยที่เป็นคนงานได้รับสารพิษหรือเกิดอาการเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน
-             ผู้ป่วยที่กินยาหรือได้รับสารพิษ  ไม่ว่าโดยจงใจ  ถูกบังคับ  หรือโดยอุบัติเหตุ
-             ผู้ป่วยตายผิดธรรมชาติ
-             ผู้ป่วยที่มีประกันชีวิตหรือประกันสุขภาพซึ่งอาจเกิดเป็นข้อพิพากหรือเป็นคดีฟ้องร้องขึ้นได้
5.      ระเบียบปฏิบัติ
           





                                                                                                                       


ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
1 ตุลาคม  2548
หน้า                  
6
ของ
6

6.      ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
WI – EMR – 01.01               การบริการผู้ประสบภัยจากรถ
WI – EMR – 01.02               วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยคดี
WI – EMR – 01.03               การเก็บฝาก  เก็บรักษาและส่งคืนทรัพย์สิน
WI – EMR – 01.04               การเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
WI – EMR – 01.05               การใช้ยาเสพติดประเภท  2
WI – EMR – 01.06               การจัดลำดับคิวผู้รับบริการไม่ฉุกเฉิน
WI – EMR – 01.07               การจัดจ่ายยาห้องอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน
7.      เอกสารอ้างอิง
F – EMR – 001                    แบบบันทึกกิจกรรมอุบัติเหตุฉุกเฉิน
F – EMR – 005                    ใบ  บต.4  (หนังสือมอบอำนาจและคำรับรองของผู้ประสบภัย)
F – EMR – 009                    ใบส่งตรวจทางพยาธิวิทยา


           



สำเนาที่………………..


โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย


ระเบียบปฏิบัติที่  SP-EMR-01

เรื่อง

 

การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน




ผู้รับผิดชอบ


ทบทวนโดย

 

…………………………………………………….
หัวหน้างานอุบัติเหตุฉุกเฉิน

……………………………………………………
ผู้แทนฝ่ายบริหารคุณภาพ


……………………………..
วันที่

………………………….
วันที่



 


แก้ไขครั้งที่  08


วันที่บังคับใช้   19  ตุลาคม  2553





ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
19 ตุลาคม2553
หน้า                   
2
ของ
6

8.      วัตถุประสงค์
1.1  เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการให้บริการที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
9.      ขอบเขต
9.1เริ่มตั้งแต่ผู้รับบริการมาถึงตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน  สิ้นสุดเมื่อเสร็จสิ้นการให้บริการหรือส่งผู้รับบริการไปจุดบริการอื่น
10.   ความรับผิดชอบ
10.1  แพทย์
            ตรวจรักษาผู้ป่วยตามผังการปฏิบัติงานประจำเดือน
10.2หัวหน้างานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
            ควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติ
10.3เจ้าหน้าที่ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
            ให้บริการผู้รับบริการตามระเบียบปฏิบัติ
11.   คำจำกัดความ
11.1ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก  (Emergent)  หมายถึงผู้ป่วยต้องได้รับการตรวจรักษาทันที  มิฉะนั้นผู้ป่วยจะต้องตายหรือพิการอย่างถาวรได้ภายในเวลาไม่กี่นาที  ได้แก่
-             ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือ  COMA  (คะแนน  Score  น้อยกว่า  7)
-             ผู้ป่วยมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ  จนกระทั่งเขียนหรือหายใจมีเสียงครืดคราด  หยุดหายใจ
-             ผู้ป่วยมีอัตราการหายใจ  £ 10  หรือ  ³  40  ครั้งต่อนาที  ในผู้ใหญ่หรือในเด็กที่หายใจมีหน้าอกบุ๋ม  ร่วมกับมีอัตราการหายใจ  £  40  ครั้งต่อนาที
-             ชีพจรเต้นผิดปกติเบา  ³  50  หรือ  >  150  ครั้งต่อนาที  คลำชีพจรไม่ได้
-             หัวใจหยุดเต้น  หรือหยุดหายใจทำ  CPR
-             ความดันซิสโตลิค  >  250  มิลลิเมตรปรอท
-             มีการบาดเจ็บบริเวณร่างกายที่รุนแรงหรือบาดเจ็บหลายแห่ง  และมีกระดูกหักหลายแห่งมีอาการเจ็บปวด  ชีพจรเบา  ชาซีด
-             มีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ  ชาแขน  ชาขา  หรือคลำดูมีเสียงกรอบแกรบของกระดูกต้นคอ
-             มีแผลเปิดแยกขนาดใหญ่  บริเวณหน้าอก  และท้อง  หน้าอกมี  Subcutaneous  Emphysema  หรือมีมีด  หรือมีวัตถุปักอยู่ที่ปากแผล
-             อัมพาต  ตาบอด  หูหนวก  ทันที
-             บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก  ระดับ  2  Burn  และ  3    Burn  >  20%  ในผู้ใหญ่  หรือ  >  10%  ในเด็ก
ระเบียบปฏิบัติ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
เรื่อง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เอกสารเลขที่   
SP-EMR-01
วันที่บังคับใช้
19 ตุลาคม2553
หน้า                  
3
ของ
6

-             เลือดออกไม่สามารถห้ามเลือดได้  มีเลือดไหลตลอดเวลาร่วมกับภาวะซ๊อกจากการเสียเลือด
-             ซ๊อกด้วยสาเหตุต่าง    เหงื่อออกมาตัวเย็น  ซีด  หรือคลำชีพจรที่แขนไม่ได้ในเด็ก  (BPS  < 90  mmHg)
-             ชักตลอดเวลาหรือชักจนเขียว
-             การได้รับสารพิษได้รับยาเกินขนาด
น้ำตาลในเลือดสูง  >  600  mg%  หรือต่ำกว่า  60  mg %

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น